คำอธิบาย
เส้นทางเข้าสู่นักพัฒนา Game Developer ขั้นสูงสุด
หลักสูตรออนไลน์สำหรับนักพัฒนา Game Developer
ขั้นสูงที่จะทำให้คุณพัฒนาเกมได้อย่างต่อเนื่อง
พัฒนาจากโปรเจคจริง
- เนื้อหาจัดเต็มกว่า 270 ตอน
รวมแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน - โปรเจคจบทุกหลักสูตร
หมดกังวลว่าจบไปแล้วทำไม่ได้ - Certificate โดย
borntoDev Academy
- ตอบทุกปัญหาบทเรียน
ใน borntoDev Community - เรียน ทบทวนซ้ำได้ไม่จำกัดเวลา
ย้อนกลับบทเรียนได้จนกว่าจะเป็น - แบ่งจ่ายสบาย ๆ ผ่านบัตรเครดิต
เพียง 599 บาท / 10 เดือน
5,990 ฿
16,950 ฿
ราคาโปรโมชันพิเศษ เข้าเรียนได้ไม่จำกัดเวลา
เฉพาะ 30 ท่านแรกเท่านั้น หรือ ภายในเดือนนี้
หลักสูตรถาวร
สามารถเข้าเรียนที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ได้ไม่จำกัด
สามารถทบทวนซ้ำไม่อั้น
เมื่อเรียนจบคอร์สแล้ว
เริ่มด้วยพื้นฐานการเขียนโค้ด
ปูพื้นฐานอย่างจริงจัง ให้คุณเขียนโปรแกรมได้ก่อนพัฒนาเกม ที่ไม่ใช่เพียงการใช้โปรแกรมฉาบฉวย แต่จะได้ครบทุกพื้นฐานจริง ๆ !! ครบถ้วนกว่า 156 ตอนด้วยภาษา C#
คอร์สนี้เหมาะกับใคร
-
ผู้ที่ต้องการพัฒนาด้านเกมอย่างจริงจัง
-
ผู้ที่ต้องการเตรียมย้ายสายงานสู่การพัฒนาเกมและนักออกแบบเกม
-
ผู้ที่ต้องการพัฒนาเข้าสู่ด้าน Game Dev
-
นักเรียน / นิสิต / นักศึกษา และ ผู้สนใจที่ต้องการพัฒนาจากขั้นพื้นฐานไปในระดับสูง
เนื้อหาในหลักสูตรทั้งหมด
หัวข้อนับร้อยที่เตรียมพร้อมให้คุณได้เข้าเรียนเพื่อสู่เส้นทางที่ฝัน
ตั้งแต่พื้นฐานสู่การทำโปรเจคจริงของคุณเอง
Introduction แนะนำโลกการเขียนโปรแกรม
- Lecture 0 : ปัจจุบันที่เรากำลังอยู่
- Lecture 1 : 3 นาทีกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
- Lecture 2 : คิดแบบนักวิทยาการคอมพิวเตอร์
- Lecture 3 : พัฒนามันซะ !
- Lecture 4 : บางอย่างที่ควรรู้ก่อนเขียนโค้ด
Section 1 : เริ่มต้นกับ C#
- Lecture 5 : ทำไม เพื่ออะไร คืออะไร ? กับภาษา C#
- Lecture 6 : ดาวน์โหลด และ ติดตั้งให้เรียบร้อยก่อนต้น
- Lecture 7 : การใช้งาน Visual Studio ครั้งแรก !
- Lecture 8 : โรงงานผลิตรถ กับ การเขียนโปรแกรม เหมือนกันจนน่าเหลือเชื่อ .. (Namespace, Class, Method)
- Lecture 9 : Hello World !
Section 2 : All About Data & Variables
- Lecture 10 : การ Input ข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมของเรา !
- Lecture 11 : ข้อมูลคืออะไร ?
- Lecture 12 : ข้อมูล Digital กับ Analog คืออะไร แตกต่างกันอย่างไร ?
- Lecture 13 : ข้อมูลทางการเขียนโปรแกรมมีกี่ประเภท (Data type)
- Lecture 14 : การใช้งาน Data Type ด้วยภาษา C#
- Lecture 15 : ตัวดำเนินการคืออะไร ?
- Lecture 16 : ตัวดำเนินการในภาษา C#
- Lecture 17 : อ้าวแล้วข้อมูลเรามันหายไปไหน .. ?
- Lecture 18 : มารู้จักกับตัวแปรกันเถอะ ..
- Lecture 19 : ตัวแปรทางการเขียนโปรแกรม
- Lecture 20 : การใช้งานตัวแปรด้วยภาษา C#
- Lecture 21 : การตั้งชื่อตัวแปรสำคัญมากกกกกก!!!
- Lecture 22 : การแปลี่ยนประเภทข้อมูล
Section 3 : About Condition
- ecture 23 : ชีวิตทุกคนล้วนมีเงื่อนไข
- Lecture 24 : เงื่อนไขสำหรับการพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 25 : รู้จักกับตัวดำเนินการทางตรรกะสักหน่อย ก่อนนะ !
- Lecture 26 : ลงมือใช้เงื่อนไขเดียว
- Lecture 27 : ตัวเชื่อมการดำเนินการระหว่างตรรกะ (AND และ OR)
- Lecture 28 : มาลองใช้ AND OR กันจริงๆเลย
- Lecture 29 : ขึ้นต้นด้วย if ลงท้ายด้วย else
- Lecture 30 : เงื่อนไขซ้อนเงื่อนไข
- Lecture 31 : เงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
Section 4 : The Loop
- Lecture 32 : Loop มันคืออะไรกัน
- Lecture 33 : การวนซ้ำที่มีเงื่อนไข (While)
- Lecture 34 : ไปลองใช้ while กันเลยยย
- Lecture 35 : For loop การวนรอบแบบตายตัว
- Lecture 36 : ลงมือใช้ loop while กันเลย
- Lecture 37 : ตกลงแล้ว for และ while แตกต่างกันยังไง
- Lecture 38 : ทำก่อนตรวจสอบทีหลังกับ do while
- Lecture 39 : ลงมือใช้ Do while กันเลย
Section 5 : What is Array
- Lecture 40 : ถ้าเก็บข้อมูลจำนวนมากลงในตัวแปร ?
- Lecture 41 : รู้จักกับอาร์เรย์ Array
- Lecture 42: การใช้งานเข้าถึงข้อมูลอาร์เรย์
- Lecture 43 : การกำหนดค่าให้อาร์เรย์ตั้งแต่ต้น
- Lecture 44 : การวนซ้ำใน Array
- Lecture 45 : การวนซ้ำขั้นเทพ แบบ foreach
- Lecture 46 : รู้จักกับ Array 2 มิติ
- Lecture 47 : ใช้งานจริงกับ Array 2 มิติ
Section 6 : What is Method
- Lecture 48 : ฟังก์ชันอยู่รอบตัวเรา
- Lecture 49 : หน้าตาของฟังก์ชันเป็นยังไงนะ
- Lecture 50 : ต้นสร้างฟังก์ชันแรกของเรา
- Lecture 51 : การคืนค่าของฟังก์ชัน
Section 7 : GUI & Event Driven
- Lecture 52 : เหตุการณ์นี้มันคืออะไร !!!
- Lecture 53 : ลองมองทุกอย่างให้เป็นวัตถุ
- Lecture 54 : มาสร้างหน้าต่างของโปรแกรม
- Lecture 55 : ทำความรู้จักกับ Properties
- Lecture 56 : เบื้องหลังหน้าต่างอันสวยงาม
- Lecture 57 : ลองใส่เหตุการณ์ให้กับ Control
- Lecture 58 : Event Driven Programming!!
- Lecture 59 : แล้วเราจะเอา Attribute มาใช้ได้ยังไง?
- Lecture 60 : มาสร้างโปรแกรมแรกของตัวเองกัน
Section 8 : What is OOP
- Lecture 61 : ทำไมต้องเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ!! (OOP)
- Lecture 62 : ทุกวัตถุมีเอกลักษณ์ (Properties)
- Lecture 63 : ทำความเข้าใจ Class มากยิ่งขึ้น
- Lecture 64 : มาสร้าง Class แรกของเรากัน
- Lecture 65 : การทำ Encapsulation เพราะทุกข้อมูลมีความลับ
- Lecture 66 : บางอย่างห้ามเขียน!! บางอย่างห้ามอ่าน!!
- Lecture 67 : ปฏิบัติการ Encapsulation
- Lecture 68 : เกร็ดความกับคำว่า Properties
- Lecture 69: การสืบทอดสายเลือด Inheritance
- Lecture 70 : ปฏิบัติการ Inheritance
- Lecture 71 : มันคือความ Abstact
- Lecture 72 : รู้จะกับ override ก่อน
- Lecture 73 : ปฏิบัติการ Abstact
- Lecture 74 : สร้าง Instance
- Lecture 75 : Constructor คืออะไร?
- Lecture 76: ชื่อ method เดิมเพิ่มเติมคือมีหลายอันด้วย Overload
- Lecture 77: สร้าง Constructor แรกกันเลย
- Lecture 78: ข้อควรรู้ของ Constructor
- Lecture 79: หนึ่งการทำงานมีได้หลายรูปแบบกับ Polymorphism
- Lecture 80: Class ก็มี Interface ให้ใช้ด้วย
- Lecture 81: รู้ไหม? การเขียนโปรแกรมก็เหมือนกับเราส่งข้อความให้โปรแกรมทำงาน
- Lecture 82: ทบทวนความรู้ทั้งหมดของ OOP กัน!!
Section 9 : Collection
- Lecture 83: เก็บของรวมไว้ด้วยกันด้วย Collection
- Lecture 84: Array ที่เพิ่มขนาดได้ด้วย ArrayList
- Lecture 85: เก็บข้อมูลแบบ key และ value ด้วย Hashmap
- Lecture 86: เก็บข้อมูลทั้งที เรียงข้อมูลให้เลยกับ SortedList
- Lecture 87: Stack มาก่อนออกทีหลัง
- Lecture 88: Queue มาก่อนออกก่อน
Section 10 : Database
- Lecture 89: รู้จักการทำงานร่วมกับฐานข้อมูล
- Lecture 90: แล้ว SQLite คืออะไร?
- Lecture 91: ติดตั้ง SQLite กันเลย
- Lecture 92: รู้จักคำสั่งเพิ่มฐานข้อมูลกันก่อนเลย
- Lecture 93: ต้นสร้างฐานข้อมูลแรกกันเลย
- Lecture 94: รู้จักประเภทของข้อมูลใน SQLite
- Lecture 95: เพิ่มข้อมูลลง Database ด้วยคำสั่ง INSERT INTO
- Lecture 96: ลงมือเพิ่มข้อมูลจริงกันเลย
- Lecture 97: เลือกข้อมูลจาก Database ด้วยคำสั่ง SELECT
- Lecture 98: ปฎิบัติเรียนรู้ทุกคำสั่ง SQL
- Lecture 99: โปรเจคท้ายบท สร้างโปรแกรมร้านหนังสือ
Section 11 : Web Fundamentals
- Lecture 100: ทำความเข้าใจ Web technology
- Lecture 101: โปรเจคต่อเนื่อง เว็บไซต์ขายหนังสือ!!
Section 12 Intro to : ASP.NET (Web Form)
- Lecture 102: รู้จักกับ NET
- Lecture 103: ข้อดีของ NET ที่ควรรู้ก่อนพัฒนา
- Lecture 104: มาสร้างโปรเจคแรกกันเลย
- Lecture 105: เพิ่ม Event ให้กับเว็บของเรา
- Lecture 106: กำหนด properties ให้กับเว็บคอนโทรล
- Lecture 107: เปลี่ยนหน้าเว็บเราได้ด้วย Redirect
- Lecture 108: การเปลี่ยนหน้าเว็บอีกแบบด้วย Server
- Lecture 109: ทำให้เว็บจำเราได้ด้วย Cookie
- Lecture 110: ทำการเขียนและอ่าน Cookie กัน
- Lecture 111: ทำความสะอาด Code ของเราด้วย Refactor
- Lecture 112: รู้จักการเก็บข้อมูลด้วย Session
- Lecture 113: ต้นการใช้งาน Session
- Lecture 114: โปรเจคที่ 3 กับการสร้างหน้าล็อคอิน
Section 13 : ASP.NET MVC + Web Database
- Lecture 115: การออกแบบ Model View Controller (MVC)
- Lecture 116: พัฒนาโปรเจคด้วย MVC
- Lecture 117: การใช้งาน Master Page
- Lecture 118: ทำการติดตั้ง SQL Server
- Lecture 119: สร้างฐานข้อมูลแรกกันเลย
- Lecture 120: ทำการเชื่อมต่อฐานข้อมูลและดึงข้อมูล
- Lecture 121: เตรียมพร้อมสร้างส่วนแสดงข้อมูลด้วย GridView
- Lecture 122: นำข้อมูลในฐานข้อมูลมาแสดงกันเลย
- Lecture 123: มาแก้ไขให้รูปภาพแสดงผลได้
Section 14 : ASP.NET Data & Web Security
- Lecture 124: เรื่องราวของความปลอดภัยกับข้อมูล
- Lecture 125: การเก็บข้อมูลที่ปลอดภัยควรเป็นรูปแบบใด ?
- Lecture 126: ทำความรู้จักกับ SSL
- Lecture 127: Authorizing สิ่งสำคัญคือการปกป้องข้อมูลที่ไม่ควรเข้าถึงได้
- Lecture 128: เรื่องราวที่น่ารู้ของ SQLInjection
- Lecture 129: รู้จักกับ Denial-of-Service
Section 15 : เริ่มต้นสร้างสรรค์เกมของคุณ
- Lecture 1 บทนำ
- Lecture 2 เริ่มต้นใช้งาน Unity
- Lecture 3 เริ่มต้นสร้าง Object
- Lecture 4 การสร้าง Collider และใส่ Rigidbody
- Lecture 5 ใส่ Texture ให้กับ Object
- Lecture 6 เพิ่ม Function การควบคุมใหัวัตถุเคลื่อนที่ได้
- Lecture 7 เพิ่ม Speed ให้กับวัตถุ
- Lecture 8 เพิ่ม Function การกระโดดให้กับวัตถุ
- Lecture 9 จัดการมุมมองกล้องในเกม
- Lecture 10 สร้าง Item ภายในเกม
- Lecture 11 ออกแบบฉากและองค์ประกอบในเกม
- Lecture 12 สร้าง Boundary ให้กับเกม
- Lecture 13 สร้างตัวนับ Score โดยใช้ Text
- Lecture 14 การสร้างและจัดการ Scene
- Lecture 15 การใส่ Sound Effect
- Lecture 16 สร้าง Menu เริ่มต้น
- Lecture 17 เริ่มต้น Build เกมของตัวเอง
Section 16 : ประยุกต์การสร้างเกม
- Lecture 18 สร้าง Terrain ให้กับเกม
- Lecture 19 สั่งซื้อรถถัง
- Lecture 20 จัดการ Camera Control
- Lecture 21 สร้างและจัดการ Bullet
- Lecture 22 จัดการกับกระบอกปืน
- Lecture 23 สร้างวัตถุในฉากสำหรับทำลาย
- Lecture 24 เพิ่มเอฟเฟคการระเบิด
- Lecture 25 ปรับแต่งฉากและสร้างตัวเกม
- Lecture 26 สรุปผลท้ายบทเรียน
Section 17 : เตรียมความพร้อมก่อนสร้างเกม
- Lecture 1 : Introduction
- Lecture 2 : เริ่มต้นการติดตั้ง Unity
- Lecture 3 : กระบวนการออกแบบเกม (MDA Framework)
- Lecture 4 : ลำดับการทำงานของ Function ใน Unity
- Lecture 5 : ทำความเข้าใจ Vector 2D/3D
Section 18 : เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรม Unity
- Lecture 6 : การกำหนด Layout โปรแกรม
- Lecture 7 : การจัดการ Project และ Folder Structure
- Lecture 8 : การใช้งาน Scene และ Navigation
- Lecture 9 : การจัดการ Object
- Lecture 10 : การปรับค่าใน Inspector
- Lecture 11 : การใช้งาน Package Manager
- Lecture 12 : การใช้งานร่วมกับ Asset Store
- Lecture 13 : หน้าต่างจัดการ Game
- Lecture 14 : การใช้งานส่วน Console
- Lecture 15 : การใช้งานส่วน Profiler
Section 19 : ทบทวนความรู้ Unity
- Lecture 16 : ทำความเข้าใจ Game Object
- Lecture 17 : เริ่มต้นสร้าง Game Object
- Lecture 18 : การทำ Parent และ Child
- Lecture 19 : เทคนิคการใช้งาน Transform
- Lecture 20 : การกำหนด Tag และ Layer
- Lecture 21 : สร้างและใช้งาน Prefab
- Lecture 22 : สร้างและใช้งาน Component
- Lecture 23 : ลองสร้าง Script ใช้งานเอง
- Lecture 24 : รู้จักกับ Rigidbody
- Lecture 25 : รู้จักกับ Collider
- Lecture 26 : การใช้งาน Event จาก Collider
- Lecture 27 : เรียนรู้การใช้งาน Physic Material
Section 20 : การทำงานกับ Material และ Shader
- Lecture 28 : Workshop ครั้งที่ 1
- Lecture 29 : เรียนรู้การสร้าง Material ในแบบต่าง ๆ
- Lecture 30 : การใช้งาน Shader เบื้องต้น
Section 21 : จัดการกับแสงและเงา
- Lecture 31 : วิธีการสร้าง Scene สำหรับเปลี่ยนฉาก
- Lecture 32 : การใช้งาน Light แบบต่าง ๆ
- Lecture 33 : การใช้งาน Cookie
- Lecture 34 : การใช้งาน Area Light (Baked)
- Lecture 35 : การปรับแต่งค่า Emission และ Light Setting
- Lecture 36 : การใช้งานและปรับแต่ง Sky Box
- Lecture 37 : Workshop ครั้งที่ 2
- Lecture 38 : สร้างเงาสะท้อนด้วย Reflection Probe
- Lecture 39 : สร้างแสงสะท้อนด้วย Light Probe
Section 22 : การทำงานร่วมกับ Animation
- Lecture 40 : เริ่มต้นใช้งาน Animation
- Lecture 41 : การใช้งานแถบจัดการ Animator
- Lecture 42 : ทำความเข้าใจ Animation State Machines
- Lecture 43 : การ Import Rig Model สำหรับทำ Animation
- Lecture 44 : การใช้งาน Model จากภายนอก
- Lecture 45 : การใช้งาน Avatar และ Humanoid Bone
- Lecture 46 : การใช้งาน Blend Tree
- Lecture 47 : สร้างส่วนนำเข้า Input ในการควบคุม Animation
- Lecture 48 : การใส่ Event เพื่อเรียกใช้งานใน Script
Section 23 : Coding Technique
- Lecture 49 : เรียนรู้การใช้งาน Unity Attribute
- Lecture 50 : การใช้งาน Time.deltaTime
- Lecture 51 : ความแตกต่างระหว่าง Fixed Update และ Update
- Lecture 52 : การใช้งาน Quaternion และ EulerAngles
- Lecture 53 : คำนวณเส้นทางกระสุนด้วย Ray
- Lecture 54 : จัดการกับลูกกระสุนด้วย Instantiation และ Simple Pooling
- Lecture 55 : การใช้งานและปรับแต่ง Input Manager
- Lecture 56 : การกำหนดค่า Physics Setting และ Physics Layer
- Lecture 57 : การใช้งาน Coroutine สำหรับสร้าง Delay
- Lecture 58 : การจัดการ Visual Feedback
- Lecture 59 : จัดการส่วน Game Manager
Section 24 : เริ่มต้นสร้าง AI ในเกม
- Lecture 60 : เรียนรู้การสร้างเส้นทางให้ AI ด้วย Nav Mesh
- Lecture 61 : สร้างตัวละคร AI ด้วย Agent
- Lecture 62 : เริ่มต้นใช้งาน Nav Mesh
- Lecture 63 : กำหนดพฤติกรรมให้ AI ด้วย State Machine Behavior
- Lecture 64 : การกำหนดค่า Idle State
- Lecture 65 : การกำหนดค่า Patrol State
- Lecture 66 : การกำหนดค่า Attack State
- Lecture 67 : การกำหนดค่า Dead State
Section 25 : การจัดการส่วน Particle
- Lecture 68 : รู้จักกับ Particle
- Lecture 69 : การใช้งาน 3 ส่วนหลักของ Particle
- Lecture 70 : การใช้งาน Particle Over Lifetime Module
- Lecture 71 : การใช้งาน Particle Noise
- Lecture 72 : การใช้งาน Particle Collision Module
- Lecture 73 : การใช้งาน Particle Sub Emit
- Lecture 74 : การใช้งาน Particle Texture Animation
- Lecture 75 : การใช้งาน Particle Light
- Lecture 76 : การสร้าง Particle Trails
- Lecture 77 : การใช้งาน Particle Trigger
- Lecture 78 : วิธีการใช้งาน Fetch
- Lecture 79 : วิธีการใช้งาน Fetch
- Lecture 80 : Workshop ครั้งที่ 3
Section 26 : การจัดเสียงที่ใช้ในงาน
- Lecture 81 : เข้าใจหลักการทำงานของเสียงใน Unity
- Lecture 82 : การกำหนดค่า Audio File ให้เหมาะสมกับงาน
- Lecture 83 : การใส่ BGM และ SFX ให้กับงาน
- Lecture 84 : การจัดการเสียงแบบพร้อมกันหลายไฟล์
- Lecture 85 : รู้จักและใช้งาน Audio Mixer
- Lecture 86 : Workshop ครั้งที่ 4
Section 27 : เริ่มต้นจัดการส่วน Cinemachine และ Camera
- Lecture 87 : เรียนรู้หลักการ Short Film ฉบับเร่งรัด
- Lecture 88 : รู้จักเครื่องมือ Cinemachine
- Lecture 89 : กำหนดค่า Post Processing สำหรับฉาก Cinematic
- Lecture 90 : การใช้งาน Fellow Camera
- Lecture 91 : การใส่ขอบภาพยนตร์ (Letter Box) ภายในงาน
- Lecture 92 : เรียนรู้การทำงานของ Timeline
- Lecture 93 : เริ่มต้นใช้งาน Timeline และเรียกใช้ฟังก์ชัน
- Lecture 94 : มาลองสร้าง Cutscene เริ่มเกมกันเถอะ!
- Lecture 95 : Workshop ครั้งที่ 5
Section 28 : เริ่มต้นจัดการส่วน User Interface
- Lecture 96 : User Interface (UI) คืออะไร?
- Lecture 97 : รู้จักและเริ่มต้นใช้งาน TextMeshPro
- Lecture 98 : เริ่มต้นสร้าง Button
- Lecture 99 : รู้จักกับ UI Responsive
- Lecture 100 : รู้จักและใช้งาน Input Field
- Lecture 101 : เริ่มต้นสร้าง Slide UI
- Lecture 102 : เริ่มต้นสร้างหน้า Main Mernu สำหรับเข้าเกม
- Lecture 103 : เริ่มต้นสร้างหน้าสำหรับเลือกฉากเล่น
- Lecture 104 : เริ่มต้นสร้างหน้า Loading Scene
- Lecture 105 : การใช้งาน UI World
- Lecture 106 : เก็บรายละเอียดให้กับงานก่อน Render
Section 29 : การตั้งค่าก่อนทำการ Build ตัวงาน
- Lecture 107 : เรียนรู้การใช้งาน Build Setting
- Lecture 108 : จัดการเปลี่ยน Scene ด้วย Scene Manager
- Lecture 109 : จัดการหน้า Loading ระหว่างเปลี่ยนฉาก
- Lecture 110 : Workshop ครั้งที่ 6
- Lecture 111 : เรียนรู้การใช้งาน Player Setting
- Lecture 112 : การตั้งค่าตัวงานสำหรับใช้งานบน Android
Section 30 : บทส่งท้าย Tip & Trick
- Lecture 113 : เริ่มต้น Build ผลงานของเรากัน!
- Lecture 114 : เทคนิคเพิ่มเติม และข้อควรระวังที่ควรรู้
- Lecture 115 : ของฝากสำหรับสาย Game Dev
ขอบคุณ
ทุกความไว้วางใจ
ในสังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี มีผู้คนทั้งจากในและต่างประเทศให้ความสนใจในการพัฒนาโปรแกรม
และ เข้ามาเรียนรู้กับเรา ทั้งภาครัฐ และ เอกชน รวมถึงนักพัฒนาซอฟต์แวร์อิสระ
5 แสน
ผู้เรียนกับเรา
10 ล้าน
การเข้าชมบทเรียน
500+
เนื้อหาทั้งหมด
50
คอร์สเรียนหลัก
ส่วนหนึ่งจากองค์กรชั้นนำที่ไว้วางใจพวกเรา
เราพร้อมให้บริการทั้งบุคคลทั่วไปที่สนใจ และ ลูกค้าในรูปแบบองค์กร
เพื่อจุดประกายทุกไอเดียในการพัฒนาเทคโนโลยี
เลือกลงทะเบียนแพคเกจที่ให้ความคุ้มค่าที่สุด
ให้คุณประหยัดได้กว่าครึ่งจากราคาปกติในการเดินเส้นทางนักพัฒนาแอปพลิเคชัน
ประหยัดเวลาเรียนรู้กว่าเดิม !
ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเตรียมตัว
เรียนรู้ที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้
หมดกังวลทุกข้อสงสัย
เรามีทีมงานคุณภาพที่พร้อมตอบทุกคำถาม
ที่คาใจระหว่างการเรียนรู้
ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่า 3 เท่า
เมื่อเทียบกับคอร์สเรียนนอกสถานที่
แถมยังเรียนทบทวนได้ทุกเมื่อ
ไปถึงจุดหมายได้เร็วกว่า !
โปรเจคสุดพิเศษที่พร้อมพัฒนา
กระบวนการคิดจนถึงจินตนาการ
Ultimate Game Development Plus+
คอร์สเรียนหลัก 3 หลักสูตร
Professional C# Programming
ครบถ้วนกับการเขียนโปรแกรมด้วย C#
Game Development with Unity
สร้างเกมของคุณเองกับพื้นฐาน Unity
Advanced Game Development With Unity
สร้างเกมของคุณเองกับการพัฒนา Unity ขั้นสูง
คอร์สเรียนเสริม 2 หลักสูตร
Github from Beginner
พื้นฐานเครื่องมือการจัดการรุ่นโครงการ
Basic HTML5 & CSS3
พื้นฐานพัฒนาเว็บด้วย HTML5 & CSS3
Hot Deal ! โปรโมชันแรงทะลุโลก
16,950฿ 5,990฿ ประหยัด 65%
เหลืออีก 7 สิทธิ์
หรือภายใน 22 กรกฎาคม 2567 นี้เท่านั้น
เรารองรับการชำระเงินที่หลากหลายตามไลฟ์สไตล์ของคุณ
รองรับบัตรเครดิตผ่านระบบออนไลน์ที่มีความปลอดภัยสูงสุด (256 bit)
ไม่รู้จะเริ่มต้นจากตรงไหน ?
สามารถดูเส้นทางการศึกษาในรูปแบบของคุณ หรือ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญแบบส่วนตัวได้ทันที