ลดราคา!

Advanced Game Development with Unity

Original price was: ฿3,590.00.Current price is: ฿1,590.00. รวม VAT

กับการพัฒนาศักยภาพที่สำคัญที่สุดของทักษะการสร้างเกมขั้นสูงในสาย Game Development ผู้ที่มีประสบการณ์กว่า 8 ปี

รหัสสินค้า: AGDWU001 หมวดหมู่: , ,

คำอธิบาย

หลักสูตรถาวร

สามารถเข้าเรียนที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ได้ไม่จำกัด

สามารถทบทวนซ้ำไม่อั้น

เมื่อเรียนจบคอร์สแล้ว

ครบทุกเรื่องราวพื้นฐานไปจนถึงการพัฒนาเกมขั้นสูง

ที่สำคัญสำหรับงานสาย Game Development

C#

visual studio

Unity

Android

เพราะการเรียนรู้สนุกได้เสมอ

หมดยุคการเรียนรู้สุดน่าเบื่อ เพราะนี่คือโลกยุคใหม่แล้ว !
ให้ทุกการเรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจให้คุณ

เริ่มต้นด้วยแนวคิดที่สำคัญที่สุด

ไม่ว่าเราจะอยากพัฒนาเกมในรูปแบบใด พื้นฐานที่ควรมีล้วนเริ่มต้นเหมือนกัน ดังนั้นในหลักสูตรนี้เราจะพาไปรู้จักกับ 3 การทำงานและแนวความคิดไม่ว่าจะเป็น กระบวนการคิดในการออกแบบเกม การสร้าง Animation ให้กับตัวละคร การจัดแสงเงา และการสร้างหน้า UI ของเกม สำหรับใครที่มีพื้นฐานเดิมและอยากพัฒนาต่อยอดสู่สาย Game Development เราขอแนะนำคอร์สนี้เลย ! เพราะเราเน้นลงมือปฏิบัติจริง มี workshop ให้คุณได้ลองคิดและลองทำในแบบของตัวเอง “เพราะเราเชื่อว่า ความสำเร็จเกิดขึ้นไม่ได้ ถ้าไม่ลองทำเอง”

หมดยุคการเรียนสุดน่าเบื่อ
กับแอนิเมชันประกอบ

เรียนแล้วนึกภาพไม่ออก ? เรียนแล้วเบื่อกับอะไรเดิม ๆ ? จบทุกปัญหาด้วยการอธิบายกับผลงานระดับ Production ใหญ่
ที่ช่วยให้คุณเข้าใจบทเรียนได้มากยิ่งขึ้น

เพราะเรากล้าการันตีความสามารถของคุณด้วย borntoDev Certificate

ต้องขอบอกก่อนว่าที่นี่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นตัวจริงเท่านั้น เพราะเรามีทั้งระบบแบบฝึกหัด และ โครงงานให้ทำพัฒนาทักษะจริง เมื่อผู้เรียนทำแบบทดสอบครบถ้วน รับทันที Verified Certificate จาก บริษัท บอร์นทูเดฟ จำกัด เพื่อการันตีความสามารถได้เลยทันที

ประหยัดเวลาเรียนรู้กว่าเดิม !

ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเตรียมตัว
เรียนรู้ที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้

หมดกังวลทุกข้อสงสัย

เรามีทีมงานคุณภาพที่พร้อมตอบทุกคำถาม
ที่คาใจระหว่างการเรียนรู้

ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่า 5 เท่า

เมื่อเทียบกับคอร์สเรียนนอกสถานที่
แถมยังเรียนทบทวนได้ทุกเมื่อ

ไปถึงจุดหมายได้เร็วกว่า !

โปรเจคสุดพิเศษที่พร้อมพัฒนา
กระบวนการคิดจนถึงจินตนาการ

ผู้เรียนกับเรากว่า

195,000

ท่านที่ไว้วางใจเราเสมอมา

ชอบ Session การสอนมาก เป็นประโยชน์ นำไปปรับใช้ได้ ไม่ยากอย่างที่คิด กำลังจะเริ่มลองเรียนต่อสายนี้เลยค่ะ

วิไลลี่ ศรีสุพรรณนักศึกษาปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ป่านแนะนำ borntodev เลยคือดีงามมากจริงๆ เหมาะสำหรับหนุ่มๆสาวๆรุ่นใหม่ไฟแรงที่อยากจะเริ่มต้นเขียนเว็บอย่างเราๆ

อำภา ธนะสัมบัญBeauty Blogger & Designer, คุณนายสายป่าน

เนื้อหาที่ให้คุณได้นำไปปรับใช้จากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่

สู่การออกแบบและพัฒนาเกมเพื่อเพิ่มศักยภาพและทักษะขั้นสูง

 ตัวอย่าง : Lecture 1 Introduction
 ตัวอย่าง :  Lecture 2 : เริ่มต้นการติดตั้ง Unity

Section 0 เตรียมความพร้อมก่อนสร้างเกม

  • Lecture 1 : Introduction
  • Lecture 2 : เริ่มต้นการติดตั้ง Unity
  • Lecture 3 : กระบวนการออกแบบเกม (MDA Framework)
  • Lecture 4 : ลำดับการทำงานของ Function ใน Unity
  • Lecture 5 : ทำความเข้าใจ Vector 2D/3D

Section 1 เริ่มต้นการใช้งานโปรแกรม Unity

  • Lecture 6 : การกำหนด Layout โปรแกรม
  • Lecture 7 : การจัดการ Project และ Folder Structure
  • Lecture 8 : การใช้งาน Scene และ Navigation
  • Lecture 9 : การจัดการ Object
  • Lecture 10 : การปรับค่าใน Inspector
  • Lecture 11 : การใช้งาน Package Manager
  • Lecture 12 : การใช้งานร่วมกับ Asset Store
  • Lecture 13 : หน้าต่างจัดการ Game
  • Lecture 14 : การใช้งานส่วน Console
  • Lecture 15 : การใช้งานส่วน Profiler

Section 2 ทบทวนความรู้ Unity

  • Lecture 16 : ทำความเข้าใจ Game Object
  • Lecture 17 : เริ่มต้นสร้าง Game Object
  • Lecture 18 : การทำ Parent และ Child
  • Lecture 19 : เทคนิคการใช้งาน Transform
  • Lecture 20 : การกำหนด Tag และ Layer
  • Lecture 21 : สร้างและใช้งาน Prefab
  • Lecture 22 : สร้างและใช้งาน Component
  • Lecture 23 : ลองสร้าง Script ใช้งานเอง
  • Lecture 24 : รู้จักกับ Rigidbody
  • Lecture 25 : รู้จักกับ Collider
  • Lecture 26 : การใช้งาน Event จาก Collider
  • Lecture 27 :  เรียนรู้การใช้งาน Physic Material

Section 3 การทำงานกับ Material และ Shader

  • Lecture 28 : Workshop ครั้งที่ 1
  • Lecture 29 : เรียนรู้การสร้าง Material ในแบบต่าง ๆ
  • Lecture 30 : การใช้งาน Shader เบื้องต้น

Section 4 จัดการกับแสงและเงา

  • Lecture 31 : วิธีการสร้าง Scene สำหรับเปลี่ยนฉาก
  • Lecture 32 : การใช้งาน Light แบบต่าง ๆ
  • Lecture 33 : การใช้งาน Cookie
  • Lecture 34 : การใช้งาน Area Light (Baked)
  • Lecture 35 : การปรับแต่งค่า Emission และ Light Setting
  • Lecture 36 : การใช้งานและปรับแต่ง Sky Box
  • Lecture 37 : Workshop ครั้งที่ 2
  • Lecture 38 : สร้างเงาสะท้อนด้วย Reflection Probe
  • Lecture 39 : สร้างแสงสะท้อนด้วย Light Probe

Section 5 การทำงานร่วมกับ Animation

  • Lecture 40 : เริ่มต้นใช้งาน Animation
  • Lecture 41 : การใช้งานแถบจัดการ Animator
  • Lecture 42 : ทำความเข้าใจ Animation State Machines
  • Lecture 43 : การ Import Rig Model สำหรับทำ Animation
  • Lecture 44 : การใช้งาน Model จากภายนอก
  • Lecture 45 : การใช้งาน Avatar และ Humanoid Bone
  • Lecture 46 : การใช้งาน Blend Tree
  • Lecture 47 : สร้างส่วนนำเข้า Input ในการควบคุม Animation
  • Lecture 48 : การใส่ Event เพื่อเรียกใช้งานใน Script

Section 6 Coding Technique

  • Lecture 49 : เรียนรู้การใช้งาน Unity Attribute
  • Lecture 50 : การใช้งาน Time.deltaTime
  • Lecture 51 : ความแตกต่างระหว่าง Fixed Update และ Update
  • Lecture 52 : การใช้งาน Quaternion และ EulerAngles
  • Lecture 53 : คำนวณเส้นทางกระสุนด้วย Ray
  • Lecture 54 : จัดการกับลูกกระสุนด้วย Instantiation และ Simple Pooling
  • Lecture 55 : การใช้งานและปรับแต่ง Input Manager
  • Lecture 56 : การกำหนดค่า Physics Setting และ Physics Layer
  • Lecture 57 : การใช้งาน Coroutine สำหรับสร้าง Delay
  • Lecture 58 : การจัดการ Visual Feedback
  • Lecture 59 : จัดการส่วน Game Manager

Section 7 เริ่มต้นสร้าง AI ในเกม

  • Lecture 60 : เรียนรู้การสร้างเส้นทางให้ AI ด้วย Nav Mesh
  • Lecture 61 : สร้างตัวละคร AI ด้วย Agent
  • Lecture 62 : เริ่มต้นใช้งาน Nav Mesh
  • Lecture 63 : กำหนดพฤติกรรมให้ AI ด้วย State Machine Behavior
  • Lecture 64 : การกำหนดค่า Idle State

Section 7 เริ่มต้นสร้าง AI ในเกม (ต่อ)

  • Lecture 65 : การกำหนดค่า Patrol State
  • Lecture 66 : การกำหนดค่า Attack State
  • Lecture 67 : การกำหนดค่า Dead State

Section 8 การจัดการส่วน Particle

  • Lecture 68 : รู้จักกับ Particle
  • Lecture 69 : การใช้งาน 3 ส่วนหลักของ Particle
  • Lecture 70 : การใช้งาน Particle Over Lifetime Module
  • Lecture 71 : การใช้งาน Particle Noise
  • Lecture 72 : การใช้งาน Particle Collision Module
  • Lecture 73 : การใช้งาน Particle Sub Emit
  • Lecture 74 : การใช้งาน Particle Texture Animation
  • Lecture 75 : การใช้งาน Particle Light
  • Lecture 76 : การสร้าง Particle Trails
  • Lecture 77 : การใช้งาน Particle Trigger
  • Lecture 78 : วิธีการใช้งาน Fetch
  • Lecture 79 : วิธีการใช้งาน Fetch
  • Lecture 80 : Workshop ครั้งที่ 3

Section 9 การจัดเสียงที่ใช้ในงาน

  • Lecture 81 : เข้าใจหลักการทำงานของเสียงใน Unity
  • Lecture 82 : การกำหนดค่า Audio File ให้เหมาะสมกับงาน
  • Lecture 83 : การใส่ BGM และ SFX ให้กับงาน
  • Lecture 84 : การจัดการเสียงแบบพร้อมกันหลายไฟล์
  • Lecture 85 : รู้จักและใช้งาน Audio Mixer
  • Lecture 86 : Workshop ครั้งที่ 4

Section 10 เริ่มต้นจัดการส่วน Cinemachine และ Camera

  • Lecture 87 : เรียนรู้หลักการ Short Film ฉบับเร่งรัด
  • Lecture 88 : รู้จักเครื่องมือ Cinemachine
  • Lecture 89 : กำหนดค่า Post Processing สำหรับฉาก Cinematic
  • Lecture 90 : การใช้งาน Fellow Camera
  • Lecture 91 : การใส่ขอบภาพยนตร์ (Letter Box) ภายในงาน
  • Lecture 92 : เรียนรู้การทำงานของ Timeline
  • Lecture 93 : เริ่มต้นใช้งาน Timeline และเรียกใช้ฟังก์ชัน
  • Lecture 94 : มาลองสร้าง Cutscene เริ่มเกมกันเถอะ!
  • Lecture 95 : Workshop ครั้งที่ 5

Section 11 เริ่มต้นจัดการส่วน User Interface

  • Lecture 96 : User Interface (UI) คืออะไร?
  • Lecture 97 : รู้จักและเริ่มต้นใช้งาน TextMeshPro
  • Lecture 98 : เริ่มต้นสร้าง Button
  • Lecture 99 : รู้จักกับ UI Responsive
  • Lecture 100 : รู้จักและใช้งาน Input Field
  • Lecture 101 : เริ่มต้นสร้าง Slide UI
  • Lecture 102 : เริ่มต้นสร้างหน้า Main Mernu สำหรับเข้าเกม
  • Lecture 103 : เริ่มต้นสร้างหน้าสำหรับเลือกฉากเล่น
  • Lecture 104 : เริ่มต้นสร้างหน้า Loading Scene
  • Lecture 105 : การใช้งาน UI World
  • Lecture 106 : เก็บรายละเอียดให้กับงานก่อน Render

Section 12 การตั้งค่าก่อนทำการ Build ตัวงาน

  • Lecture 107 : เรียนรู้การใช้งาน Build Setting
  • Lecture 108 : จัดการเปลี่ยน Scene ด้วย Scene Manager
  • Lecture 109 : จัดการหน้า Loading ระหว่างเปลี่ยนฉาก
  • Lecture 110 : Workshop ครั้งที่ 6
  • Lecture 111 : เรียนรู้การใช้งาน Player Setting
  • Lecture 112 : การตั้งค่าตัวงานสำหรับใช้งานบน Android

Section 13 บทส่งท้าย Tip & Trick

  • Lecture 113 : เริ่มต้น Build ผลงานของเรากัน!
  • Lecture 114 : เทคนิคเพิ่มเติม และข้อควรระวังที่ควรรู้
  • Lecture 115 : ของฝากสำหรับสาย Game Dev

 คอร์สเรียนนี้เหมาะสำหรับ

  • ผู้ที่ต้องการพัฒนาด้านเกมอย่างจริงจัง
  • ผู้ที่ต้องการเตรียมย้ายสายงานสู่การพัฒนาเกมและนักออกแบบเกม
  • ผู้ที่ต้องการพัฒนาเข้าสู่ด้าน Game Dev
  • นักเรียน / นิสิต / นักศึกษา และ ผู้สนใจที่ต้องการพัฒนาจากขั้นพื้นฐานไปในระดับสูง

 พื้นฐาน / ความต้องการเบื้องต้น

  • การเขียนโปรแกรมพื้นฐาน
  • การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ
  • การใช้งาน Unity เบื้องต้น
  • Computer หรือ Notebook ที่สามารถใช้งาน Internet ได้ (Intel core i5 Ram 8 GB ขึ้นไป หรือ เทียบเท่า)
  • ความใฝ่ฝันสำหรับผู้ที่ต้องการสร้างและพัฒนาเกมอย่างต่อเนื่อง

ชำระเงินครั้งเดียว ไม่จำกัดระยะเวลาการเรียน

คุ้มยิ่งกว่าคุ้ม ชำระเงินเพียงครั้งเดียวก็สามารถเข้าเรียนได้ไม่จำกัดระยะเวลา ทบทวนซ้ำได้ ไม่จำเป็นต้องรอเรียนพร้อมกัน แถมยังสามารถทำแบบฝึกหัด
และส่งโปรเจคให้ตรวจเพื่อรับ Verified Certificate ได้ภายใน 1 ปีอีกด้วย !

ผู้สอนในคอร์สเรียน

พงศธร เกียรติเจริญพร (อาจารย์มิว)

จากประสบการณ์ใน Unity มากกว่า 8 ปี
และมีผลงานมากมายไม่ว่าจะเป็น VR อสังหาริมทรัพย์
VR เพื่อการแพทย์ หรือ multimedia ในงานนิทรรศการ และ พิพิธภัณฑ์ต่างๆ รวมถึงเกมเพื่อความสนุกสนาน เป็นต้น

 

 

เริ่มต้นจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ สร้างผลงานไปพร้อมกันกับผู้เรียนกว่า 1 แสนคนได้เลย