ผู้ที่ผ่านการทำแบบฝึกหัดจากโจทย์การทำงานจริง 100% ออนไลน์ภายในระยะเวลา 4 เดือน
Dev Init โครงการพัฒนาทักษะ
เพื่อการทำงานจริงสาย Dev
👨🏻💻 "Dev Init" คือโครงการค่ายพัฒนาทักษะเพื่อการทำงานจริงสาย Dev / IT จาก borntoDev ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะและความรู้สึกอย่างแท้จริงก่อนเข้าสู่วงการ IT และ Dev ในภาคประกอบการ ผ่านการฝึกหัดจากโจทย์การทำงานจริง 100% ออนไลน์ผ่านกลุ่ม Facebook ภายในระยะเวลา 4 เดือน
🧑💻ผลงานของผู้เรียน
โครงการ Dev Init #1
เพราะทุกผลงาน เรามุ่งเน้นที่จะคัดกรองอย่างรอบคอบและตรวจอย่างละเอียด
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะและความรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
🧑💻Front-End Developer
สร้างประสบการณ์เลื่อนไร้
รอยต่อด้วย Infinite Scroll
Phornhathai Thanomwong
นักเรียนโครงการ Dev Init #1
🕵️Back-End Developer
Test Case แบบ Unit Testing
สำหรับ API ในระบบจัดการสินค้า
Supakorn Kaewlaiad
นักเรียนโครงการ Dev Init #1
สร้างระบบจัดการสินค้าด้วย Node.js และ Express แบบง่าย ๆ
Nuttamol Janmanee (Manow)
นักเรียนโครงการ Dev Init #1
🧑🎨UX/UI Designer
👨🏫 บทความ นักเรียน
ที่เข้าร่วมโครงการ DevInit #1
👨🎓รีวิวจากผู้เรียน
โครงการ Dev Init #1
“ดีมากครับ ได้ลองฝึกทำหลาย ๆ Project เห็นพัฒนาการของตัวเองเมื่อเทียบกับสัปดาห์แรกเลยครับ”
K*****pนักเรียนโครงการ Dev Init #1
“ขอบคุณสำหรับโครงการดีๆ แบบนี้นะครับ ได้พัฒนาสกิลใหม่ๆ ทั้งทางด้าน Technical กับการเขียนบทความด้วยครับ ถ้ามีโอกาสก็จะลงอีกครับ ^^”
Sawit Koseeyaumpornนักเรียนโครงการ Dev Init #1
“ขอบคุณที่เปิดโอกาสและโครงการนี้ให้ได้ฝึกฝนทักษะนะคะ เป็นโครงการที่เหมาะกับผู้ที่ต้องการทำโปรเจคที่หลากหลายและไม่รู้ว่าจะทำโจทย์อะไรดี สามารถนำไปใส่ใน portfolio ได้ค่ะ :-)”
Yosita Keawsangนักเรียนโครงการ Dev Init #1
“ช่วยให้ได้ประสบการณ์แบบเต็มที่มากๆครับ มีครั้งหน้าจะสมัครอีกแน่นอน”
ธีระภัทร เชื้อนกขุ้มนักเรียนโครงการ Dev Init #1
“ได้ฝีกการทำงาน”
s*****tนักเรียนโครงการ Dev Init #1
“”
Chatchawan Ngernthawornนักเรียนโครงการ Dev Init #1
📌 ระยะเวลาโครงการ
ค่ายพัฒนาเสริมทักษะ 4 เดือน
หลังผ่านการพิจารณา รับทั้งหมดไม่เกิน 80 ท่านทั่วประเทศ (รอบ Q1/2024)
👨🏻💻 ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกรอบ Final โครงการ “Dev Init #2 “
💻 Front-end Developer
ศัตชล หอมหวล | Front-end Developer |
ธารีรัตน์ โพธิธรรม | Front-end Developer |
อิสรา รัตนพิทักษ์ | Front-end Developer |
ศุภณัฐ ปัญญาคม | Front-end Developer |
วรินทร กองผกา | Front-end Developer |
ภัคพล ธีรชัยศุภกิจ | Front-end Developer |
อาทิตย์ จตุสอ | Front-end Developer |
สิริศักดิ์ เสือขำ | Front-end Developer |
อภินันท์ จันทร์ตา | Front-end Developer |
ปพิมภัทร์ นิ่มประเสริฐ | Front-end Developer |
มิลินทร ปิณฑศิริ | Front-end Developer |
ณรงค์ชัย สุราษฎารมย์ | Front-end Developer |
พรรณชนก ชูสวัสดิ์ | Front-end Developer |
ศุภชัย สินเกษม | Front-end Developer |
หนึ่งณัฐยา อดิศัยพิตรากูล | Front-end Developer |
สาริณี เสมอภาค | Front-end Developer |
🛠️ Back-end Developer
กรณ์ สุภวิวัฒน์ | Backend Developer |
อวัสนันท์ พโนศักดิ์ | Backend Developer |
พรพุทธ สุดอุปถัมภ์ | Backend Developer |
ศวิษฐ์ โกสียอัมพร | Backend Developer |
ชนชนท์ อิทธิวรากิจ | Backend Developer |
สรจิตต์ อารีรัตน์ | Backend Developer |
กรฤต แสงทอง | Backend Developer |
อนุชิต รักษาพล | Backend Developer |
นายชนารัท ทองอินทร์ | Backend Developer |
ธรรมภพ บุตรโคตร | Backend Developer |
อนุชา วิลัยเลิศ | Backend Developer |
เกวลิน วุฒิราชา | Backend Developer |
จักรพันธ์ อร่ามดิลกรัตน์ | Backend Developer |
นายปุลิน ลาภวงศ์ราษฎร์ | Backend Developer |
ชัยวัฒน์ สมเผ่า | Backend Developer |
ฉันทวัฒน์ ทองมี | Backend Developer |
ประสิทธิ์ แซ่จาง | Backend Developer |
ธิติพงษ์ รัตนมณีรัศมี | Backend Developer |
🧑🎨 UX/UI Designer
กฤษณาพร พรมมานอก | UX/UI Designer |
ชินภัทร สารางคำ | UX/UI Designer |
รัฐธรรมนูญ หาญกล้า | UX/UI Designer |
ชาลิสา เจริญสวัสดิ์ | UX/UI Designer |
พิมพ์ชนก แจ่มทิม | UX/UI Designer |
🚀 คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
สำหรับโครงการ “Dev Init #2“
โครงการ "Dev Init" นี้เข้าร่วมได้ฟรีจริง ๆ หรือไม่?
ใช่, โครงการนี้เข้าร่วมได้ฟรี 100% ไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
ถ้าเข้าร่วมโครงการนี้ ผม/ดิฉันจะต้องทำอะไรบ้าง?
ผู้เรียนจะต้องจัดทำและส่ง การบ้านของโปรเจกต์ตัวอย่างภายในโครงการ รวมถึงบทความที่เกี่ยวกับเนื้อหา ความรู้ด้านไอที และการพัฒนาโปรแกรม เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะ และ ความรู้ความสามารถในการทำงานจริงได้ ตลอดระยะเวลาเข้าร่วมโครงการ โดยต้องส่งสัปดาห์ละ 3 บทความ [✅ บทความจะมีชื่อของผู้เขียนติดอยู่เพื่อเป็นเครดิตในการต่อยอดความรู้ หรือ สมัครงานได้อีกด้วย !]
การบ้านหรือโจทย์โปรเจกต์ที่ต้องส่งทุกสัปดาห์นั้น มีลักษณะอย่างไร?
การบ้านหรือโจทย์โปรเจกต์จะเป็นการทดสอบความรู้และทักษะที่ผู้เรียนได้รับรู้จากเนื้อหาในสัปดาห์นั้น ๆ ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาโปรแกรม, การวิเคราะห์ข้อมูล, หรือการออกแบบระบบต่าง ๆ
ต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือพิเศษในการทำการบ้านหรือโจทย์โปรเจกต์ไหม?
ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องมือหรือซอฟต์แวร์ที่สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี แต่หากมีการใช้เครื่องมือพิเศษ เราจะแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
บทความที่ต้องส่งนั้น ต้องเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร ?
บทความที่ต้องส่งสามารถเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ด้านไอที, แนวทางการพัฒนาโปรแกรม, หรือเทคนิคต่าง ๆ ที่ผู้เรียนได้รับรู้และต้องการแชร์ให้กับผู้อื่น
ถ้าไม่สามารถส่งการบ้าน โปรเจกต์ หรือ บทความตามที่กำหนด จะเกิดอะไรขึ้น?
หากผู้เรียนไม่สามารถส่งบทความตามที่กำหนด อาจมีการพิจารณาเรื่องการตัดสิทธิ์ในการเข้าร่วมโครงการ แต่เราแนะนำให้แจ้งเหตุผลและปัญหาที่เกิดขึ้นกับทีมงานของเราเพื่อพิจารณา
บทความที่ส่งเข้ามา จะถูกนำไปใช้งานอย่างไร?
บทความที่ส่งเข้ามาจะถูกนำไปแชร์บนแพลตฟอร์มของ borntoDev และอาจถูกนำไปใช้เป็นเนื้อหาสำหรับการอบรมหรือโปรโมทโครงการต่อไป
หากมีคำถามเพิ่มเติมหรือต้องการความช่วยเสริมในการเขียนบทความ การบ้าน หรือ โจทย์โปรเจกต์ สามารถติดต่อทีมงานได้อย่างไร?
สามารถติดต่อทีมงานของเราผ่านทาง Discord หรือช่องทางการติดต่ออื่น ๆ ที่เราได้แจ้งไว้ในโครงการ.
ทำไมผู้สมัครในโครงการนี้จะต้องมีเวลาอย่างน้อย 16 - 24 ชั่วโมงต่อสัปดาห์?
เนื่องจากโครงการนี้มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะจริง ๆ ผ่านกิจกรรมและโปรเจกต์ที่ใกล้เคียงกับการทำงานจริง ดังนั้น, การมีเวลาเพียงพอจึงเป็นสิ่งสำคัญในการทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์และความรู้อย่างเต็มที่
หากไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกันตามเวลาที่กำหนดได้ จะมีผลอย่างไร?
หากไม่สามารถทำกิจกรรมตามเวลาที่กำหนด อาจมีผลต่อความก้าวหน้าของโปรเจกต์ และการเรียนรู้ของผู้เรียนเอง แนะนำให้แจ้งเหตุผลและปัญหาที่เกิดขึ้นกับทีมงานเพื่อพิจารณา
สามารถแบ่งเวลาทำกิจกรรมร่วมกันได้หรือไม่?
ใช่, ผู้เรียนสามารถแบ่งเวลาทำกิจกรรมตามความสะดวกของตนเอง แต่ควรมั่นใจว่าสามารถทำกิจกรรมและส่งงานตามกำหนดเวลาที่กำหนด
ถ้ามีเหตุสุดวิสัยและไม่สามารถทำกิจกรรมตามเวลาที่กำหนดได้ จะต้องทำอย่างไร?
หากมีเหตุสุดวิสัย ควรแจ้งทีมงานโครงการโดยเร็ว เพื่อพิจารณาและหาทางแก้ไขที่เหมาะสม
การมีเวลา 16 - 24 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คือเวลาสูงสุดหรือเปล่า?
16 – 24 ชั่วโมงเป็นเวลาที่แนะนำและเหมาะสมสำหรับการทำกิจกรรมในโครงการ แต่ผู้เรียนสามารถใช้เวลามากกว่านี้ได้ หากต้องการศึกษาหรือทำโปรเจกต์เพิ่มเติม